หลวงปู่กิ่ง หรือ พระธรรมเสนานี (กิ่ง มหปฺผโล ป.ธ.๕ ) ปูชนียาจารย์ แห่เมืองอุบล ฯ พระเถระผู้ที่สร้างคุโณปการแก่วงการคณะสงฆ์ในอดีตไว้อย่างมากมาย
หลวงปู่พระธรรมเสนานี นามเดิมของท่านนั้นคือ กิ่ง นิลดำอ่อน ฉายา มหปฺผโล เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๔๔๕ ที่ บ้านทุ่งบอน หมู่ ๒ ตำบลบุ่งหวาย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นบุตรคนที่ ๒ ของนายพั่ว และ นางกอง มีอาชีพทำนา ท่านบรรพชาเป็นสามเณรตอนอายุ ๑๙ ปี เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๔๖๔ ที่วัดมณีวนาราม โดยมีพระครูวิจิตรธรรมภาณี (พวง ธมฺมทีโป ) เป็นพระอุปัชฌาย์
เมื่ออายุครบ ๒๐ ปี ท่านได้อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดบ้านโนนบอน ตำบลบุ่งหวาย อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๔๖๕ โดยมีพระครูวิจิตรธรรมภาณี (พวง ธมฺมทีโป ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการลา วัดวารินทราราม เป้นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูอินทสารคุณ วัดบุ่งหวาย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ อุปสมบทแล้ว ได้อยู่วัดบ้านทุ่งบอน อยู่ระยะหนึ่ง จึงได้ย้ายมาอยู ่วัดมณีวนาราม กับผู้เป็นหลวงลุง คือ พระครูวิจิตรธรรมภาณี (พวง ธมฺมทีโป ) เป็นเวลา ๔ พรรษา
ในขณะนั้นท่านมีความมุ่งมั่นที่จะเดิ นทางเข้าสู่เมืองหลวงเพื่อศ ึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรร ม จึงได้กราบลาหลวงลุง แล้วออกเดินทางด้วยเ ท้าจากจังหวัดอุบลฯ วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๔๖๘ ท่านได้รับความเมตตาจากคุณ อา ๒ คน นำส่งจนถึงสถานีรถ ไฟจังหวัดสุรินทร์ ใช้เวลาเดินทางเป็นเวลา ๔ วัน ๓ คืน โดยมีนายคำ นิลดำอ่อน ผู้เป็นน้องชายติดตามไปด้วย พอถึงจังหวัดสุรินทร์ได้เข้ าพักแรมบ้านนางทิพย์ นามเสนา เป็นผู้อุปถัมภ์ติดต่อนำขึ้ นรถไฟสำหรับขนหินถมทางรถไฟ จนถึงตัวจังหวัดบุรีรัมย์ ค้างคืนที่สนามหญ้าหน้าสถาน ีรถไฟจังหวัดบุรีรัมย์ ๑ คืน แล้วจึงขึ้นรถไฟจากสถานีบุร ีรัมย์ไปกรุงเทพมหานคร สมัยนั้นค่าตั๋วรถไฟจากสถาน ีบุรีรัมย์ถึงกรุงเทพมหานคร คนละ ๑๒ บาท ๕๐ สตางค์ รถไฟออกจากสถานีจังหวัดบุรี รัมย์ถึงสถานีรถไฟนครราชสีม าพักแรมคืนหนึ่ง จึงขึ้นรถไฟต่อไปถึงกรุงเทพ มหานคร
ท่านพระอาจารย์มหาปุ้ยเป็นธ ุระนำสองพี่น้องไปฝากไว้กับ ท่านพระครูวิเศษศีลคุณ (ชุ่ม) เจ้าอาวาสวัดทองนพคุณ อ.คลองสาน จ.ธนบุรี สมัยนั้นท่านก็เมตตายินดีรั บอยู่ร่วมสำนัก และให้สร้างกติกาสัญญาฝากตน เองไว้ ๓ ข้อ
๒. จักช่วยรับภารธุระพระศาสนาอ
๓. หากฝ่าฝืนกติกาสัญญานี้ ยินดีที่จะออกไปเสียจากวัดน
ในระหว่างเรียนหนังสือนี้ เคยอยู่ร่วมสำนักกับท่านเจ้
การปกครอง
๑. เป็นเจ้าอาวาสวัดมณีวนาราม
๒. เป็นเจ้าสำนักเรียนนักธรรม-
๓. เป็นเจ้าคณะอำเมืองเมืองอุบ
๔. เป็นเจ้าคณะจังหวัดอุบลราชธ
๕.เป็นรองเจ้าคณะภาค ๑๐
การศึกษา
พ.ศ.๒๔๖๔ สอบได้นักธรรมชั้นตรีในสำนั
พ.ศ. ๒๔๗๑ สอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยค สำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ
พ.ศ. ๒๔๗๓ สอบได้นักธรรมชั้นโท สำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ
พ.ศ. ๒๔๗๔ สอบได้เปรียญธรรม ๔ ประโยค สำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ
พ.ศ. ๒๔๗๕ สอบได้เปรียญ ๕ ประโยค ในสำนักเรียนวัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ
สมณศักดิ์
๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ได้รับสมณศักดิ์เป็น พระครูวิจิตรธรรมภาณี
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ เลื่อนเป็นพระครูสัญญาบัตรช
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระญาณเมธี
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้รับราชทินนามใหม่เป็น พระเมธีรัตโนบล
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระรัตนมงคลเมธี
๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพมงคลเมธี
๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๖ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมเสนานี
การสาธารณูปการ
พ.ศ. ๒๔๗๖ นำก่อสร้างสุขศาลา ๑ หลัง(สถานีอนามัย) บ่อน้ำ ๑ บ่อ ณ บ.ทุ่งบอน ต.บุ่งหวาย อ.วารินชำราบ
พ.ศ. ๒๔๘๓ นำซ่อมกุฏิ ๑ หลังขนาด ๖.๖ เมตร ยาว ๖.๖๖ เมตร ณ วัดมณีวนาราม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๔๘๔ นำประชาชน ต.บุ่งหวาย ทำคูน้ำหนองบอน ให้เป็นหนองน้ำสาธารประโยชน
๑.ห้วยวังโฮ กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร
๒. ปรับปรุงหนองจำนัก ต.หัวเรือ กว้าง ๒ เมตร ยาว ๕๐ เมตร
๓. ปรับปรุงหนองเต่า บ.เป้า ต.เหล่าเสือโก้ก กว้าง ๔ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
พ.ศ. ๒๔๗๘ นำสร้างโรงเรียนพระปริยัติธ
พ.ศ. ๒๔๙๑ นำประชาชน บ.ทุ่งขุนใหญ่ ต.หนองขอน ทำการปิดทำนบกั้นน้ำหนองเบ็
พ.ศ. ๒๔๙๒ นำสร้างศาลาการเปรียญวัดหลว
พ.ศ. ๒๔๙๓ นำสร้างเจดีย์บรรจุพระพุทธร
วัดทุ่งศรีเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี
พ.ศ. ๒๔๙๔ นำสร้างอุโบสถบ้านตุงลุง อ.โขงเจียม ๑ หลัง กว้าง๔ เมตร ยาว ๙ เมตร
พ.ศ. ๒๔๙๕ นำสร้างโรงเรียนบาลีวิจิตรส
จำนวน ๑ หลัง ลักษณะ ๒ ชั้น รวม ๑๑ ห้องเรียน กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร ปัจจุบันใช้เป็นที่เรียนหนั
พ.ศ. ๒๔๙๙ นำสร้างสุขศาลาอีก ๑ หลัง ประจำหมู่บ้านทุ่งบอน หมู่ ๒ ต.บุ่งหวาย อ.วารินชำราบ
-เปิด ร.ร.อุบลวิทยากร โดยอาศัยอาคารโรงเรียนบาลีว
พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๔ นำสร้างศาลาการเปรียญ ๒ ชั้น กว้าง ๑๗.๗๐ เมตร ยาว ๓๐.๖๐ เมตร สำหรับเป็นอาคารเรียนธรรม-บ
นำสร้างซุ้มประตูโขงวัดมณีว
นำสร้างซุ้มประตูโขงวัดมณีว
พ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๒๒ นำสร้างอุโบสถวัดมณีวนาราม ๑ หลัง โดยก่อสร้างตรงบริเวณอุโบสถ
พ.ศ.๒๕๒๕ นางอุบล แสงศิริ พร้อมบุตรชาย นายวิรัชและคณะ นำสร้างกุฏีพระเทพมงคลเมธี จำนวน ๑ หลัง ๒ ชั้น กว้าง ๖ เมตรยาว ๙ เมตร รวมเงินค่าก่อสร้าง ๘๐๐,๐๐๐ บาท (แปดแสนบาทถ้วน) และทำรั้วกุฎีหลังนี้สิ้นเง
พ.ศ. ๒๕๓๐ นำสร้างเมรุ ๑ หลัง พร้อมกับศาลาคู่เมรุ ๑ หลัง รวมค่าก่อสร้างเมรุ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้านบาทถ้วน) และค่าก่อสร้างศาลาคู่เมรุ ๖๐,๐๐๐ บาท (หกหมื่นบาทถ้วน) โดย บริษัทศรีสมบูรณ์ เป็นเจ้าภาพศรัทธา เพื่ออุทิศถวายบรรพชนบิดามา
พ.ศ. ๒๕๓๕ นำปฏิสังขรณ์กุฎิแดงแล้วเสร
มรณภาพ
พระเดชพระคุณพระธรรมเสนานี อาพาธด้วยโรคชรา ศิษยานุศิษย์ อุบาสก อุบาสิกา ได้นำเข้ารักษาโรงพยาบาลสรร
สมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนิน พระราชทานเพลิงศพ พระธรรมเสนานี (กิ่ง มหปฺผโล ป.ธ.๕ ) ณ เมรุวัดมณีวนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ในวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๓๘
หลวงปู่เป็นพระมหาเถระผู้รัตตัญญู สุปฏิบัติ ที่เป็นเสมือน แม่ทัพ โดยแท้ คือเป็น แม่ทัพธรรม ผู้กล้าหาญ ผู้เด็ดเดี่ยว เข็มแข็ง หนักแน่น อดทน มีไหวพริบ ปฏิภาณ และทรงธรรมปัญญา สามารถนำกองทัพธรรมของพุทธบ ริษัทออกสงครามต่อสู้กับควา มยากจน ความโง่เขลา ความทุกข์โศก โรคภัยอันตราย และอธรรมคือกิเลสทั้งหลาย ชีวิตอันยาวนานในสมณเพศของพ ระเดชพระคุณ โดยมิได้หวาดหวั่นท้อถอยแต่ ประการใด ราชทินนาม พระธรรมเสนานี แม่ทัพธรรม นี้ จึงควรแท้แก่พระ มหาเถระนักต่อสู้เด็ดเดี่ยวเข็มแข็ง เป็นครุฐานียะปูชนียบุคคลที ่สูงส่ง มีศิลาจารวัตรปฏิปทาอันบริสุท ธิ์ เป็น พระแท้ ที่ควรแก่การกราบไหว้บูชาได ้สนิทใจรูปหนึ่งของคณะสงฆ์ไ ทย ในบานะพระเดชพระคุณได้ประกอ บคุณงามความดีอันบริสุทธิ์อ ย่างมั่งคงตลอดมา
ข้อมูล หนังสือกิ่งธรรม
หนังสือปูชณียาจารย์ แห่งเมืองอุบลฯ
เพจวัดมณีวนาราม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น